วันพฤหัสบดีที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

วิธีติดตั้ง Android SDK บน Ubuntu 12.04

1. เปิด terminal ขึ้นมา และ run commands ข้างล่าง เพื่อทำการ install openJDK ก่อน
 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
sudo apt-get install openjdk-6-jre openjdk-6-jdk icedtea6-plugin
 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

2.  Download และติดตั้ง SDK package โดย run ตาม command ข้างล่าง ณ ตอนที่เขียนบทความนี้  SDK อยู่ใน Version "r20" หรือ download จาก http://developer.android.com/sdk/index.html เพื่อโหลด .tgz  archive file
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
wget http://dl.google.com/android/android-sdk_r20-linux.tgz
 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 3. หลังจาก download เสร็จ ให้ run ตาม command ข้างล่าง เพื่อแตกไฟล์ที่ download มาเมื่อกี้
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
tar -xvzf android-sdk_r20-linux.tgz
 ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

4. หลังจากแตกไฟล์เสร็จ ให้เข้าไปที่ tools diractory
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
cd ~/android-sdk-linux/tools
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

5. run command เพื่อ install 
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
./android
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

6. เลือก android version ที่ต้องการจะลง (แนะนำให้ลงทั้งหมด)



7. หลังจากที่ update เสร็จ ให้ run ตาม command ข้างล่าง เพื่อแก้ path environment
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
gedit ~/.bashrc
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

8. เอา ข้อความด้านล่างไปใส่ในบรรทัดบนสุดของไฟล์ แล้ว save
export PATH=${PATH}:~/android-sdk-linux/tools
export PATH=${PATH}:~/android-sdk-linux/platform-tools

9. run ตาม command ข้างล่าง เพื่อเปิด software
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
android avd
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------

10. สร้าง android application ตามใจชอบ :)))



Credit: แปลมาจาก http://www.liberiangeek.net/2012/07/download-and-install-androidsdk-in-ubuntu-12-04-precise-pangolin/

วันศุกร์ที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2556

การ update patch ของ project OFBiz

- เปิด terminal ขึ้นมา
- เข้าไปที่ folder ที่เก็บ project imas เอาไว้
-----------------------------------------------------------------------------------------------
cd project/imas/trunk/patches
-----------------------------------------------------------------------------------------------

- update patch ล่าสุดของ project โดย พิมพ์
-----------------------------------------------------------------------------------------------
svn up 
-----------------------------------------------------------------------------------------------


- เข้าไปที่ folder ที่เก็บ project ofbiz เอาไว้
-----------------------------------------------------------------------------------------------
cd project/ofbiz12.04/
-----------------------------------------------------------------------------------------------

- ทำการ revert patch เก่าออกก่อน(ต้องเอา patch เก่าออกก่อนทุกครั้ง)
----------------------------------------------------------------------------------------------- 
svn revert -R .
----------------------------------------------------------------------------------------------- 

- เรียกหา patch ที่ต้องการ update
-----------------------------------------------------------------------------------------------
patch -p0 -i ~/project/imas/trunk/patches/xxxxxxxxxxxxxxxxxx.diff
-----------------------------------------------------------------------------------------------

วันจันทร์ที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2556

OFBiz: การสร้าง Component

- การสร้าง component ใน ofbiz หรือพูดง่ายๆก็คือการสร้างเมนู ดังรูป
วิธีการสร้าง component อย่างง่ายทำได้โดยการ
1. เปิด terminal ขึ้นมา
2. พิมพ์เข้าไปใน folder ที่อยู่ของ ofbiz
เช่น ถ้า ofbiz อยู่ใน /home/administrator/Work/ofbiz12.04 ให้พิมพ์คำสั่งใน terminal ว่า
------------------------------------------------------------------------------------
cd Work/ofbiz12.04
------------------------------------------------------------------------------------
3. จากนั้นพิมพ์เพื่อสร้าง component
------------------------------------------------------------------------------------
./ant create-component
------------------------------------------------------------------------------------ 
ใน teminal จะขึ้นว่า 

create-component:
[input] Component name: (e.g. mycomponent) [Mandatory]
 ให้พิมพ์ชื่อ component ( ชื่อ component ใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด ตัวอย่างเช่น "mycomponent") กด enter


[input] Component resource name: (e.g. MyComponent) [Mandatory] 
ให้พิมพ์ชื่อ component resource name (ชื่อ component resource name คำขึ้นต้นของคำใช้ตัวอักษรภาษาอังกฤษตัวใหญ่ ตัวอื่นใช้ตัวเล็ก ตัวอย่างเช่น "MyComponent")กด enter


[input] Webapp name: (e.g. mycomponent) [Mandatory]
ให้พิมพ์ชื่อ Webapp name (ชื่อ Webapp name ใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์เล็กทั้งหมด ตัวอย่างเช่น "mycomponent") กด enter
[input] Base permission: (e.g. MYCOMPONENT) [Mandatory]
ให้พิมพ์ชื่อ Webapp name (ชื่อ Base permission ใช้อักษรภาษาอังกฤษตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด ตัวอย่างเช่น "MYCOMPONENT") กด enter


ระบบจะถามว่าต้องการสร้าง component จริงหรือไม่ กด "y" เพื่อยืนยัน กด "n" เพื่อยกเลิก


4. ต่อไปเราต้อง import component เข้าไปใน ofbiz โดยเข้าไปที่ web browser พิมพ์ https://localhost:8443/webtools/ จากนั้น เข้าไปที่ XML Data Import Dir ดังรูป


5. ในช่อง Absolute directory path: ให้ใส่ path ของ component จากนั้นกด import file เป็นอันเสร็จสิ้น (path ของ component สามารถดูได้จากในโปรแกรม eclipe)(path ของ component  เช่น "/home/administrator/Project/ofbiz12.04/hot-deploy/testcomponent/data")






วันอังคารที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2556

OFBiz Tutorial

แบบฝึกหัด ofbiz ของผู้เริ่มต้นและจะเขียนภาษา ofbiz 


 OFBiz Tutorial คลิกที่นี่
  • สามารถเริ่มเขียนโปรแกรม โดยใช้โปรแกรม eclipse(version ไหนก็ได้) ในการเขียน
  • ทุกครั้งที่ต้องการจะ Run ทดสอบ Coding จะต้องเปิด Terminal เพื่อนรัน ant และรันofbiz
----------------------------------------------------------------------
./ant
---------------------------------------------------------------------- 
./startofbiz.sh
----------------------------------------------------------------------

วันจันทร์ที่ 1 เมษายน พ.ศ. 2556

ติดตั้ง Eclipse และ plug-in

  • สามารถ download Eclipse ได้ที่นี่ 
  • ถ้าไม่ทราบว่าควรจะโหลด version 32bit หรือ 64bit ให้เข้าไปที่ Dash Home จากนั้นพิมพ์ "Detail" ตรง os-type จะบอกว่าเครื่องของท่านเป็น version อะไร
  • หลังจากที่ download Eclipse เสร็จ ให้แตกไฟล์ออกมา 
  • กดเพื่อเข้าโปรแกรม Eclipse
  • ในโปรแกรม Eclipse ที่เมนู "Help" เลือก "Eclipse MarketPlace..."
  • ทำการติดตั้ง Plug-ins เพิ่มเติม โดย Plug-ins ที่ต้องติดตั้งเพิ่ม มีดังนี้
    1. Subclipse
    2. Groovy
    3. JBoss Tools เลือกเฉพาะ plug-ins ชื่อ FreeMarker 

วันพฤหัสบดีที่ 28 มีนาคม พ.ศ. 2556

การลงและติดตั้ง Ofbiz12.04 Ubuntu


  • สามารถ download Ofbiz12.04 ได้ที่ http://ofbiz.apache.org/
  • นำ apache-ofbiz-12.04.zip ไปไว้ใน Home Folder
  • สร้าง Folder ขึ้นมาใหม่ โดยใช้ชื่อ "Project"
  • แตกไฟล์  apache-ofbiz-12.04.zip ออกมา แล้วเปลี่ยน folder ชื่อเป็น "ofbiz12.04"
  • เปิด Terminal ขึ้นมา จากนั้นพิมพ์คำสั่ง
---------------------------------------------------------------------
cd Project/ofbiz12.04
---------------------------------------------------------------------
./ant
---------------------------------------------------------------------
./ant run-install
---------------------------------------------------------------------
./startofbiz.sh
---------------------------------------------------------------------
 
  • รอจนกว่า ofbiz จะ start เสร็จ
  • ทดสอบการติดตั้งว่าสำเร็จหรือไม่ โดยเข้าไปที่ Web Browser พิมพ์ URL ว่า "http://localhost:8080/webtools/"

วันจันทร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2556

การลง Subversion และ Plug-in เสริมเพื่อใช้งาน Ofbiz12.04

  • เปิด Dash Home ขึ้นมา จากนั้นค้นหาคำว่า "synaptic package manager" จากนั้นกดเข้าไป
  • ถ้าหาก search ใน Dash Home แล้วไม่มี synaptic package manager ให้เปิด Terminal ขึ้นมา จากนั้นพิมพ์ 
 ---------------------------------------------------------------------------
 sudo apt-get install synaptic
 ---------------------------------------------------------------------------
        เพื่อทำการติดตั้ง รอจนกว่าจะเสร็จ
  •  เปิดเข้าไปใน synaptic package manager ในช่อง Quick filter พิมพ์
                                "subversion" , "ant" , "postgresql"
  • ทำการ download และติดตั้ง


วันพฤหัสบดีที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2556

การติดตั้ง JDK 6 ใน Ubuntu12.04

เริ่มแรกให้ทำการ Download JDK 6 จาก ที่นี่
  • หลังจากที่ download JDK 6 เสร็จ ให้เปิด  Terminal ขึ้นมา 


  • เปลี่ยน permission การเข้าถึงไฟล์โดยใช้คำสั่ง  
------------------------------------------------------------ 
chmod +x jdk-6u32-linux-i586.bin          กด enter
------------------------------------------------------------

  • คลายไฟล์ bin โดยใช้คำสั่ง
------------------------------------------------------------ 
./jdk-6u32-linux-i586.bin                         กด enter
------------------------------------------------------------

  • ย้ายโฟร์เดอร์ที่คลายไฟล์เสร็จแล้วไปไว้ที่ jvm
------------------------------------------------------------ 
sudo mv jdk1.6.0_32 /usr/lib/jvm/           กด enter
------------------------------------------------------------

  • ทำการติดตั้งลงในระบบ

------------------------------------------------------------   
sudo update-alternatives --install /usr/bin/javac javac /usr/lib/jvm/jdk1.6.0_32/bin/javac 1 
          
กด enter

sudo update-alternatives --install /usr/bin/java java /usr/lib/jvm/jdk1.6.0_32/bin/java 1 

กด enter 
------------------------------------------------------------

  • ทดสอบดูเวอร์ชั่น
------------------------------------------------------------ 
java -version           กด enter
------------------------------------------------------------

  • ใน terminal ผลที่ออกมาจะได้ 
java version "1.6.0_43"
Java(TM) SE Runtime Environment (build 1.6.0_43-b01)
Java HotSpot(TM) Server VM (build 20.14-b01, mixed mode)

  •  ถ้าผลใน terminal ออกมาไม่ใช่ " java version "1.6.0_43" " สามารถใช้คำสั่งเพื่อเลือกใช้ java ใน version ที่เราต้องการได้ โดยใช้คำสั่ง 
------------------------------------------------------------ 
sudo update-alternatives --config javac
กด enter + เลือก version
 sudo update-alternatives --config java
กด enter + เลือก version
------------------------------------------------------------





วันจันทร์ที่ 18 มีนาคม พ.ศ. 2556

การติดตั้ง Ubuntu 12.04 คู่กับ Windows 7

การติดตั้ง Ubuntu 12.04 คู่กับ Windows 7

วิธีการลงแบบที่จะกล่าวนี้ เป็นการลงคู่กันระหว่าง Windows 7 และ Ubuntu ใน Harddisk ตัวเดียวกัน ในส่วนที่แตกต่างคือจะแยกตัวจัดการการบูตของทั้งสอง OS ออกจากกันอยู่คนละพาร์ติดชัน จากนั้นก็ใช้โปรแกรมบนฝั่ง Windows 7 ควบคุมการบูต ข้อดีของวิธีนี้คือในกรณีที่ Windows หรือ Ubuntu ล่มจนต้องลงใหม่ จะได้ไม่ต้องมาเสียเวลากู้ GRUB หรือ Loader ของ Windows และในกรณีที่ไม่ต้องการใช้ Ubuntu ก็สามารถลบทิ้งไปได้เลยทันทีโดยไม่รบกวน Loader ของ Windows 7


สิ่งที่ต้องการ
  • Windows 7 (ที่ลงไปก่อนหน้านั้นแล้ว)
  • ตัวติดตั้ง Ubuntu (จะแบบ CD/DVD/USB ได้หมด)
  • โปรแกรม EasyBCD (ฟรี) สำหรับจัดการการบูต
  • โปรแกรม Minitool Partition Wizard Home Edition หรือ EASEUS Partition Master Home Edition (ฟรี)  ก็ได้ สำหรับแบ่งพาร์ติชัน (ในกรณีที่ไม่ได้เตรียมพาร์ติชันไว้ล่วงหน้า

Step 1 : การจัดสรร Partition สำหรับลง Ubuntu
ในกรณีที่ผู้ใช้ใหม่นึกอยากจะลง Ubuntu อาจไม่ได้เตรียมพาร์ติชันสำหรับลงไว้ เราจึงจำเป็นต้องมาแบ่งกันก่อน แต่ในตอนเริ่มแรกเรามีเฉพาะตัว Windows 7 ดังนั้น เราก็จัดการเรื่องพาร์ติชั่นบน Windows ไปเลย ซึ่งค่อนข้างง่ายกว่าการจัดการพาร์ติชั่นบน Ubuntu

**** หมายเหตุ การกระทำใดๆ เกี่ยวกับระบบพาร์ติชันมีความเสี่่ยง ผู้ใช้ควรสำรองข้อมูลที่สำคัญก่อนกระทำการ

อันดับแรก ให้ติดตั้งโปรแกรมตัวใดตัวหนึ่งระหว่าง Minitool Partition Wizard Home Edition หรือ EASEUS Partition Master Home Edition (ในที่นี้ผมใช้ Minitool) จากนั้นก็เปิดโปรแกรมขึ้นมา ตามภาพ


จากภาพ เครื่องที่ผมใช้มีอยู่ 2 พาร์ติชั่น คือ C:SYSTEMS ซึ่งเป็นตัวเก็บ Windows 7 และ D:DATA เป็นตัวเก็บข้อมูลปกติ เนื่องจากเราต้องการเนื้อที่อย่างน้อย 20GB (น้อยกว่านี้ได้ขึ้นอยู่กับขนาด HDD ของเรา) เพื่อติดตั้ง Ubuntu เราต้องเลือกว่าจะย่อหรือดึงเนื้อที่มาจากพาร์ติชั่นไหน ในที่นี้ผมขอดึงมาจาก D: เพราะมันมีขนาดใหญ่ และเพื่อให้การจัดลำดับการบูตให้ได้ง่ายๆ เราจะดึงเนื้อที่มาจากส่วนหน้าของ D: 20GB สำหรับวิธีการขอพื้นที่พาร์ติชันคืน (resize) ทำดังนี้ครับ อันดับแรก คลิกที่ D: แล้วคลิกที่ปุ่ม Move/Resize จะปรากฏหน้าต่างตามภาพ


ให้เราคลิกค้างไว้ที่เครื่องหมายสามเหลี่ยมด้านหน้าแล้วค่อยๆ ลากมาทั้งขวามือจนได้ขนาดตามที่ต้องการ (หน่วยเป็น MB เช่น ต้องการ 20GB ก็ราว 20,000 MB) ตามภาพ


ได้ขนาดทีต้องการแล้วกดปุ่ม OK แล้วกดปุ่ม Apply ที่ด้านบนอีกครั้ง แล้วจะพบข้อความเตือนว่า ผู้ใช้ควรปิดการตั้งค่าการประหยัดพลังงานและควรปิดโปรแกรมที่ไม่เกี่ยวข้องออกก่อน เพราะการแบ่งพาร์ติชันจะใช้เวลานาน และอาจต้องย้ายข้อมูลบางส่วน ให้เรากดปุ่ม Yes เพื่อทำต่อ



แบ่งเสร็จ เราก็จะได้พาร์ติชันแบบ Unallocated มาหนึ่งพาร์ติชัน หยุดแค่นี้ก่อน ต่อไปก็เตรียมตัวลง Ubuntu




Step 2 : Install Ubuntu

ในขั้นนี้เราต้องเตรียมแผ่น หรือ USB สำหรับลง Ubuntu ให้เราทำการบูตและเข้าสู่กระบวนการติดตั้งตามปกติจนกระทั่งมาถึงหน้า Allocate drive space เพื่อเลือกว่าเราจะติดตั้งแบบไหน ให้เลือก Something else


 จากนั้นจะเข้าสู่กระบวนการจัดพาร์ติชั่น ให้เราคลิกเลือกที่ free space (ที่เราแบ่งบน Windows มาก่อนหน้านี้) จากนั้นคลิกปุ่ม Add

ให้ตั้งค่าตามภาพ
Type for the new partition = Primary
New partition size in megabytes (1000000 bytes) = ขึ้นมาเอง ไม่ต้องเปลี่ยน
Location for the new partition = Beginning
Use as = Ext4 journaling flie system
Mount point = /
กดปุ่ม OK เพื่อดำเนินการต่อ



ระบบจะเตือนว่าเรายังไม่ได้สร้างพาร์ติชันสำหรับ swap และอาจทำให้มีปัญหาระหว่างการติดตั้ง แต่ในที่นี้เรากด Continue ไปได้เลย เพราะทุกวันนี้เรามี RAM เยอะกันอยู่แล้ว ไม่ต้องใช้ swap ก็ได้

กลับมาที่หน้า Allocate drive space อีกที จะเห็นว่ามีพาร์ติดชั่นชื่อ /dev/sda3 ขึ้นมาแทนคำว่า free space จุดนี้สำคัญ ให้เราจำค่า device ค่านี้ จากนั้นก็ไปเลือก /dev/sda3 ที่เมนู Device for boot loader installation: ด้านล่าง ตรงนี้ต้องเลือกให้ถูกต้อง





Step 3 : Install EasyBCD

หลังจากที่ลงอูบุนตูเสร็จแล้วรีสตาร์ท มันจะเข้า Windows 7 แทน ก็ไม่ต้องตกใจ มันถูกต้องแล้ว ให้เราเริ่มติดตั้งโปรแกรม EasyBCD แล้วตั้งค่าตั้งภาพ

ปิดโปรแกรม แล้วทดสอบรีสตาร์ทดู จะเห็นตัวเลือกให้เลือกบูตระหว่าง Windows 7 และ Ubuntu


****----ถ้า----****
  • ถ้า Windows ล่ม ต้องลงใหม่ ก็ลงตามปกติ ลงเสร็จก็ลง EasyBCD และตั้งค่าตามเดิม
  • ถ้า Ubuntu ล่ม ก็ลงตามวิธีด้านบน ไม่ต้องแก้ไขค่าอะไรที่ Windows
  • ถ้าล่มทั้งคู่ ลง Windows ก่อน
  • ถ้าจะลบ Ubuntu ทิ้ง ก็ใช้ Minitool ลบพาร์ติชันที่ลง Ubuntu ทิ้ง แล้วลบโปรแกรม EasyBCD ออก